Rebuilding tourism in Asia-Pacific: A more conscious traveller?
Related content
Membina semula pelancongan di Asia Pasifik: Pelancong yang lebih berkesedar...
아시아태평양 지역의 관광 산업 회복: 지각 있는 여행자란?
การฟื้นฟูการท่องเที่ยวในเอเชียแปซิฟิก: มีนักท่องเที่ยวที่มีความใส่ใจรับผิดช...
โควิด-19 ได้เปลี่ยนแปลงการท่องเที่ยวในหลายทิศทาง ตั้งแต่การแพร่ระบาดของโรคที่ส่งผลเสียหายอย่างมากต่อชีวิตมนุษย์และสังคมได้เริ่มต้น นักท่องเที่ยวได้คิดใคร่ครวญถึงผลกระทบต่อวันหยุด พักผ่อนในชุมชน เศรษฐกิจในท้องถิ่น และสิ่งแวดล้อมกันมากขึ้น แม้ว่าจะมีการหยิบยกประเด็นนี้ มาพูดถึงเมื่อสองสามปีที่ผ่านมา แต่การแพร่ระบาดนี้ก็ส่งผลให้เกิดการตื่นตัวด้านการเดินทางท่องเที่ยวที่หลากหลายและเร่งรัดการผลักดันไปสู่ การเดินทางท่องเที่ยวที่ใส่ใจและรับผิดชอบมากยิ่งขึ้นในเอเชียแปซิฟิก
จากการสำรวจโดย Economist Impact ที่สอบถามนักท่องเที่ยวมากกว่า 4,500 คนในภูมิภาค ทั้งในออสเตรเลีย ญี่ปุ่น อินเดีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เกาหลีใต้ ไต้หวัน และไทย แสดงให้เห็นว่ามากกว่า 7 ใน 10 (71.8%) ของผู้ตอบแบบสำรวจเห็นด้วยว่าโควิด-19 ได้เปลี่ยนแนวความคิดของพวกเขาที่มีต่อการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนโดย ทำให้การท่องเที่ยวดังกล่าวมีความสำคัญต่อพวกเขามากขึ้น
ตัวเลขนี้เพิ่มสูงยิ่งขึ้นไปอีกในบางประเทศ โดยที่ผู้ตอบแบบสำรวจ 98.5% ในฟิลิปปินส์ 96.5% ใน อินเดีย และ 93.5% ในมาเลเซียกล่าวว่าการแพร่ระบาดได้เปลี่ยนแนวความคิดของพวกเขาที่มีต่อการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน อีกทั้งมากกว่าสี่ในห้ายังกล่าวถึงความจำเป็นที่จะต้องมีหลักปฏิบัติเกี่ยวกับการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนอีกด้วย
เป็นไปได้หรือไม่ว่าเรากำลังอยู่ในรุ่งอรุณของยุคแห่งการเดินทางท่องเที่ยวที่ใส่ใจรับผิดชอบมากขึ้น ผลการสำรวจของเราชี้ให้เห็นเช่นนั้น ผู้ตอบแบบสำรวจมากกว่าครึ่ง (57.1%) กล่าวว่าพวกเขามีมุมมองต่อการท่องเที่ยวแตกต่างออกไป รวมถึงวิธีที่จะทำให้การท่องเที่ยวมีความยั่งยืนอีกด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เนื่องจากการท่องเที่ยวนี้ เกี่ยวโยงกับเศรษฐกิจในท้องถิ่น ชุมชน วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม
รายงานจาก Economist Impact ที่ได้รับการสนับสนุนโดย Airbnb ฉบับนี้ สำรวจการฟื้นตัวของการท่องเที่ยวในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดยมุ่งศึกษาว่าการเดินทางท่องเที่ยวจะสามารถเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใดได้บ้างจากการเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวที่มีความใส่ใจรับผิดชอบ รายงานนี้อิงตามการศึกษาค้นคว้าที่ครอบคลุมในวงกว้างและการสำรวจนักท่องเที่ยวมากกว่า 4,500 คนจากทั่วทั้งภูมิภาค รายงานฉบับนี้ เขียนโดย Siddharth Poddar และ เรียบเรียงโดย Pratima Singh
เราขอขอบคุณผู้มีส่วนสนับสนุนต่อไปนี้ที่ให้ข้อมูลเชิงลึกเพิ่มเติม
• Soity Banerjee นักเขียนอิสระเรื่องการท่องเที่ยวและบรรณาธิการโครงการจาก Outlook Responsible Tourism Initiative
• Gaurav Bhatnagar ผู้อำนวยการจาก The Folk Tales
• Rachel Dodds ผู้อำนวยการจาก Sustaining Tourism และศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัย Ryerson University
• Randy Durband ประธานเจ้าหน้าที่บริหารจาก Global Sustainable Tourism Council
• Philip Goh รองประธานประจำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกจาก International Air Transport Association
• Freya Higgins-Desbiolles อาจารย์ภาควิชาการจัดการการท่องเที่ยวของมหาวิทยาลัย University of South Australia’s Business School
• Seul Ki Lee ผู้อำนวยการจาก LINC+ Project และรองศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัย Sejong University
• Liz Ortiguera ประธานเจ้าหน้าที่บริหารจาก Pacific Asia Travel Association
More from this series
Related content
重新打造亞太地區旅遊業:更加自覺的旅客?
點擊下方按鈕,獲取完整報告:
アジア太平洋地域 の観光業を再構築:コンシャストラベ ラーとは?
아시아태평양 지역의 관광 산업 회복: 지각 있는 여행자란?
아시아태평양 지역의 관광 산업 회복: 지각 있는 여행자란?
Related content
アジア太平洋地域 の観光業を再構築:コンシャストラベ ラーとは?
Membina semula pelancongan di Asia Pasifik: Pelancong yang lebih berkesedar...
การฟื้นฟูการท่องเที่ยวในเอเชียแปซิฟิก: มีนักท่องเที่ยวที่มีความใส่ใจรับผิดช...
โควิด-19 ได้เปลี่ยนแปลงการท่องเที่ยวในหลายทิศทาง ตั้งแต่การแพร่ระบาดของโรคที่ส่งผลเสียหายอย่างมากต่อชีวิตมนุษย์และสังคมได้เริ่มต้น นักท่องเที่ยวได้คิดใคร่ครวญถึงผลกระทบต่อวันหยุด พักผ่อนในชุมชน เศรษฐกิจในท้องถิ่น และสิ่งแวดล้อมกันมากขึ้น แม้ว่าจะมีการหยิบยกประเด็นนี้ มาพูดถึงเมื่อสองสามปีที่ผ่านมา แต่การแพร่ระบาดนี้ก็ส่งผลให้เกิดการตื่นตัวด้านการเดินทางท่องเที่ยวที่หลากหลายและเร่งรัดการผลักดันไปสู่ การเดินทางท่องเที่ยวที่ใส่ใจและรับผิดชอบมากยิ่งขึ้นในเอเชียแปซิฟิก
จากการสำรวจโดย Economist Impact ที่สอบถามนักท่องเที่ยวมากกว่า 4,500 คนในภูมิภาค ทั้งในออสเตรเลีย ญี่ปุ่น อินเดีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เกาหลีใต้ ไต้หวัน และไทย แสดงให้เห็นว่ามากกว่า 7 ใน 10 (71.8%) ของผู้ตอบแบบสำรวจเห็นด้วยว่าโควิด-19 ได้เปลี่ยนแนวความคิดของพวกเขาที่มีต่อการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนโดย ทำให้การท่องเที่ยวดังกล่าวมีความสำคัญต่อพวกเขามากขึ้น
ตัวเลขนี้เพิ่มสูงยิ่งขึ้นไปอีกในบางประเทศ โดยที่ผู้ตอบแบบสำรวจ 98.5% ในฟิลิปปินส์ 96.5% ใน อินเดีย และ 93.5% ในมาเลเซียกล่าวว่าการแพร่ระบาดได้เปลี่ยนแนวความคิดของพวกเขาที่มีต่อการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน อีกทั้งมากกว่าสี่ในห้ายังกล่าวถึงความจำเป็นที่จะต้องมีหลักปฏิบัติเกี่ยวกับการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนอีกด้วย
เป็นไปได้หรือไม่ว่าเรากำลังอยู่ในรุ่งอรุณของยุคแห่งการเดินทางท่องเที่ยวที่ใส่ใจรับผิดชอบมากขึ้น ผลการสำรวจของเราชี้ให้เห็นเช่นนั้น ผู้ตอบแบบสำรวจมากกว่าครึ่ง (57.1%) กล่าวว่าพวกเขามีมุมมองต่อการท่องเที่ยวแตกต่างออกไป รวมถึงวิธีที่จะทำให้การท่องเที่ยวมีความยั่งยืนอีกด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เนื่องจากการท่องเที่ยวนี้ เกี่ยวโยงกับเศรษฐกิจในท้องถิ่น ชุมชน วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม
รายงานจาก Economist Impact ที่ได้รับการสนับสนุนโดย Airbnb ฉบับนี้ สำรวจการฟื้นตัวของการท่องเที่ยวในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดยมุ่งศึกษาว่าการเดินทางท่องเที่ยวจะสามารถเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใดได้บ้างจากการเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวที่มีความใส่ใจรับผิดชอบ รายงานนี้อิงตามการศึกษาค้นคว้าที่ครอบคลุมในวงกว้างและการสำรวจนักท่องเที่ยวมากกว่า 4,500 คนจากทั่วทั้งภูมิภาค รายงานฉบับนี้ เขียนโดย Siddharth Poddar และ เรียบเรียงโดย Pratima Singh
เราขอขอบคุณผู้มีส่วนสนับสนุนต่อไปนี้ที่ให้ข้อมูลเชิงลึกเพิ่มเติม
• Soity Banerjee นักเขียนอิสระเรื่องการท่องเที่ยวและบรรณาธิการโครงการจาก Outlook Responsible Tourism Initiative
• Gaurav Bhatnagar ผู้อำนวยการจาก The Folk Tales
• Rachel Dodds ผู้อำนวยการจาก Sustaining Tourism และศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัย Ryerson University
• Randy Durband ประธานเจ้าหน้าที่บริหารจาก Global Sustainable Tourism Council
• Philip Goh รองประธานประจำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกจาก International Air Transport Association
• Freya Higgins-Desbiolles อาจารย์ภาควิชาการจัดการการท่องเที่ยวของมหาวิทยาลัย University of South Australia’s Business School
• Seul Ki Lee ผู้อำนวยการจาก LINC+ Project และรองศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัย Sejong University
• Liz Ortiguera ประธานเจ้าหน้าที่บริหารจาก Pacific Asia Travel Association
การฟื้นฟูการท่องเที่ยวในเอเชียแปซิฟิก: มีนักท่องเที่ยวที่มีความใส่ใจรับผิดชอบมากขึ้นใช่ไหม
โควิด-19 ได้เปลี่ยนแปลงการท่องเที่ยวในหลายทิศทาง ตั้งแต่การแพร่ระบาดของโรคที่ส่งผลเสียหายอย่างมากต่อชีวิตมนุษย์และสังคมได้เริ่มต้น นักท่องเที่ยวได้คิดใคร่ครวญถึงผลกระทบต่อวันหยุด พักผ่อนในชุมชน เศรษฐกิจในท้องถิ่น และสิ่งแวดล้อมกันมากขึ้น แม้ว่าจะมีการหยิบยกประเด็นนี้ มาพูดถึงเมื่อสองสามปีที่ผ่านมา แต่การแพร่ระบาดนี้ก็ส่งผลให้เกิดการตื่นตัวด้านการเดินทางท่องเที่ยวที่หลากหลายและเร่งรัดการผลักดันไปสู่ การเดินทางท่องเที่ยวที่ใส่ใจและรับผิดชอบมากยิ่งขึ้นในเอเชียแปซิฟิก
Related content
아시아태평양 지역의 관광 산업 회복: 지각 있는 여행자란?
Membina semula pelancongan di Asia Pasifik: Pelancong yang lebih berkesedar...
重新打造亞太地區旅遊業:更加自覺的旅客?
點擊下方按鈕,獲取完整報告:
Membina semula pelancongan di Asia Pasifik: Pelancong yang lebih berkesedaran?
Related content
重新打造亞太地區旅遊業:更加自覺的旅客?
點擊下方按鈕,獲取完整報告:
アジア太平洋地域 の観光業を再構築:コンシャストラベ ラーとは?
아시아태평양 지역의 관광 산업 회복: 지각 있는 여행자란?
アジア太平洋地域 の観光業を再構築:コンシャストラベ ラーとは?
Related content
การฟื้นฟูการท่องเที่ยวในเอเชียแปซิฟิก: มีนักท่องเที่ยวที่มีความใส่ใจรับผิดช...
โควิด-19 ได้เปลี่ยนแปลงการท่องเที่ยวในหลายทิศทาง ตั้งแต่การแพร่ระบาดของโรคที่ส่งผลเสียหายอย่างมากต่อชีวิตมนุษย์และสังคมได้เริ่มต้น นักท่องเที่ยวได้คิดใคร่ครวญถึงผลกระทบต่อวันหยุด พักผ่อนในชุมชน เศรษฐกิจในท้องถิ่น และสิ่งแวดล้อมกันมากขึ้น แม้ว่าจะมีการหยิบยกประเด็นนี้ มาพูดถึงเมื่อสองสามปีที่ผ่านมา แต่การแพร่ระบาดนี้ก็ส่งผลให้เกิดการตื่นตัวด้านการเดินทางท่องเที่ยวที่หลากหลายและเร่งรัดการผลักดันไปสู่ การเดินทางท่องเที่ยวที่ใส่ใจและรับผิดชอบมากยิ่งขึ้นในเอเชียแปซิฟิก
จากการสำรวจโดย Economist Impact ที่สอบถามนักท่องเที่ยวมากกว่า 4,500 คนในภูมิภาค ทั้งในออสเตรเลีย ญี่ปุ่น อินเดีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เกาหลีใต้ ไต้หวัน และไทย แสดงให้เห็นว่ามากกว่า 7 ใน 10 (71.8%) ของผู้ตอบแบบสำรวจเห็นด้วยว่าโควิด-19 ได้เปลี่ยนแนวความคิดของพวกเขาที่มีต่อการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนโดย ทำให้การท่องเที่ยวดังกล่าวมีความสำคัญต่อพวกเขามากขึ้น
ตัวเลขนี้เพิ่มสูงยิ่งขึ้นไปอีกในบางประเทศ โดยที่ผู้ตอบแบบสำรวจ 98.5% ในฟิลิปปินส์ 96.5% ใน อินเดีย และ 93.5% ในมาเลเซียกล่าวว่าการแพร่ระบาดได้เปลี่ยนแนวความคิดของพวกเขาที่มีต่อการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน อีกทั้งมากกว่าสี่ในห้ายังกล่าวถึงความจำเป็นที่จะต้องมีหลักปฏิบัติเกี่ยวกับการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนอีกด้วย
เป็นไปได้หรือไม่ว่าเรากำลังอยู่ในรุ่งอรุณของยุคแห่งการเดินทางท่องเที่ยวที่ใส่ใจรับผิดชอบมากขึ้น ผลการสำรวจของเราชี้ให้เห็นเช่นนั้น ผู้ตอบแบบสำรวจมากกว่าครึ่ง (57.1%) กล่าวว่าพวกเขามีมุมมองต่อการท่องเที่ยวแตกต่างออกไป รวมถึงวิธีที่จะทำให้การท่องเที่ยวมีความยั่งยืนอีกด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เนื่องจากการท่องเที่ยวนี้ เกี่ยวโยงกับเศรษฐกิจในท้องถิ่น ชุมชน วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม
รายงานจาก Economist Impact ที่ได้รับการสนับสนุนโดย Airbnb ฉบับนี้ สำรวจการฟื้นตัวของการท่องเที่ยวในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดยมุ่งศึกษาว่าการเดินทางท่องเที่ยวจะสามารถเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใดได้บ้างจากการเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวที่มีความใส่ใจรับผิดชอบ รายงานนี้อิงตามการศึกษาค้นคว้าที่ครอบคลุมในวงกว้างและการสำรวจนักท่องเที่ยวมากกว่า 4,500 คนจากทั่วทั้งภูมิภาค รายงานฉบับนี้ เขียนโดย Siddharth Poddar และ เรียบเรียงโดย Pratima Singh
เราขอขอบคุณผู้มีส่วนสนับสนุนต่อไปนี้ที่ให้ข้อมูลเชิงลึกเพิ่มเติม
• Soity Banerjee นักเขียนอิสระเรื่องการท่องเที่ยวและบรรณาธิการโครงการจาก Outlook Responsible Tourism Initiative
• Gaurav Bhatnagar ผู้อำนวยการจาก The Folk Tales
• Rachel Dodds ผู้อำนวยการจาก Sustaining Tourism และศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัย Ryerson University
• Randy Durband ประธานเจ้าหน้าที่บริหารจาก Global Sustainable Tourism Council
• Philip Goh รองประธานประจำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกจาก International Air Transport Association
• Freya Higgins-Desbiolles อาจารย์ภาควิชาการจัดการการท่องเที่ยวของมหาวิทยาลัย University of South Australia’s Business School
• Seul Ki Lee ผู้อำนวยการจาก LINC+ Project และรองศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัย Sejong University
• Liz Ortiguera ประธานเจ้าหน้าที่บริหารจาก Pacific Asia Travel Association
Membina semula pelancongan di Asia Pasifik: Pelancong yang lebih berkesedar...
아시아태평양 지역의 관광 산업 회복: 지각 있는 여행자란?
重新打造亞太地區旅遊業:更加自覺的旅客?
Related content
Membina semula pelancongan di Asia Pasifik: Pelancong yang lebih berkesedar...
การฟื้นฟูการท่องเที่ยวในเอเชียแปซิฟิก: มีนักท่องเที่ยวที่มีความใส่ใจรับผิดช...
โควิด-19 ได้เปลี่ยนแปลงการท่องเที่ยวในหลายทิศทาง ตั้งแต่การแพร่ระบาดของโรคที่ส่งผลเสียหายอย่างมากต่อชีวิตมนุษย์และสังคมได้เริ่มต้น นักท่องเที่ยวได้คิดใคร่ครวญถึงผลกระทบต่อวันหยุด พักผ่อนในชุมชน เศรษฐกิจในท้องถิ่น และสิ่งแวดล้อมกันมากขึ้น แม้ว่าจะมีการหยิบยกประเด็นนี้ มาพูดถึงเมื่อสองสามปีที่ผ่านมา แต่การแพร่ระบาดนี้ก็ส่งผลให้เกิดการตื่นตัวด้านการเดินทางท่องเที่ยวที่หลากหลายและเร่งรัดการผลักดันไปสู่ การเดินทางท่องเที่ยวที่ใส่ใจและรับผิดชอบมากยิ่งขึ้นในเอเชียแปซิฟิก
จากการสำรวจโดย Economist Impact ที่สอบถามนักท่องเที่ยวมากกว่า 4,500 คนในภูมิภาค ทั้งในออสเตรเลีย ญี่ปุ่น อินเดีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เกาหลีใต้ ไต้หวัน และไทย แสดงให้เห็นว่ามากกว่า 7 ใน 10 (71.8%) ของผู้ตอบแบบสำรวจเห็นด้วยว่าโควิด-19 ได้เปลี่ยนแนวความคิดของพวกเขาที่มีต่อการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนโดย ทำให้การท่องเที่ยวดังกล่าวมีความสำคัญต่อพวกเขามากขึ้น
ตัวเลขนี้เพิ่มสูงยิ่งขึ้นไปอีกในบางประเทศ โดยที่ผู้ตอบแบบสำรวจ 98.5% ในฟิลิปปินส์ 96.5% ใน อินเดีย และ 93.5% ในมาเลเซียกล่าวว่าการแพร่ระบาดได้เปลี่ยนแนวความคิดของพวกเขาที่มีต่อการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน อีกทั้งมากกว่าสี่ในห้ายังกล่าวถึงความจำเป็นที่จะต้องมีหลักปฏิบัติเกี่ยวกับการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนอีกด้วย
เป็นไปได้หรือไม่ว่าเรากำลังอยู่ในรุ่งอรุณของยุคแห่งการเดินทางท่องเที่ยวที่ใส่ใจรับผิดชอบมากขึ้น ผลการสำรวจของเราชี้ให้เห็นเช่นนั้น ผู้ตอบแบบสำรวจมากกว่าครึ่ง (57.1%) กล่าวว่าพวกเขามีมุมมองต่อการท่องเที่ยวแตกต่างออกไป รวมถึงวิธีที่จะทำให้การท่องเที่ยวมีความยั่งยืนอีกด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เนื่องจากการท่องเที่ยวนี้ เกี่ยวโยงกับเศรษฐกิจในท้องถิ่น ชุมชน วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม
รายงานจาก Economist Impact ที่ได้รับการสนับสนุนโดย Airbnb ฉบับนี้ สำรวจการฟื้นตัวของการท่องเที่ยวในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดยมุ่งศึกษาว่าการเดินทางท่องเที่ยวจะสามารถเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใดได้บ้างจากการเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวที่มีความใส่ใจรับผิดชอบ รายงานนี้อิงตามการศึกษาค้นคว้าที่ครอบคลุมในวงกว้างและการสำรวจนักท่องเที่ยวมากกว่า 4,500 คนจากทั่วทั้งภูมิภาค รายงานฉบับนี้ เขียนโดย Siddharth Poddar และ เรียบเรียงโดย Pratima Singh
เราขอขอบคุณผู้มีส่วนสนับสนุนต่อไปนี้ที่ให้ข้อมูลเชิงลึกเพิ่มเติม
• Soity Banerjee นักเขียนอิสระเรื่องการท่องเที่ยวและบรรณาธิการโครงการจาก Outlook Responsible Tourism Initiative
• Gaurav Bhatnagar ผู้อำนวยการจาก The Folk Tales
• Rachel Dodds ผู้อำนวยการจาก Sustaining Tourism และศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัย Ryerson University
• Randy Durband ประธานเจ้าหน้าที่บริหารจาก Global Sustainable Tourism Council
• Philip Goh รองประธานประจำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกจาก International Air Transport Association
• Freya Higgins-Desbiolles อาจารย์ภาควิชาการจัดการการท่องเที่ยวของมหาวิทยาลัย University of South Australia’s Business School
• Seul Ki Lee ผู้อำนวยการจาก LINC+ Project และรองศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัย Sejong University
• Liz Ortiguera ประธานเจ้าหน้าที่บริหารจาก Pacific Asia Travel Association
아시아태평양 지역의 관광 산업 회복: 지각 있는 여행자란?
Travel and tourism | How will covid-19 reshape key Australian Industries?
Across the globe businesses in the travel and tourism sector have been left reeling from covid-19, and Australia is no exception. Tourism comprised 3.1% of the nation’s GDP—and 8.2% of export earnings—in 2018/2019, with an annual economic value of A$60.8b (US$40.2b).1 With planes grounded, tourist venues shuttered, cruise ships quarantined and all non-essential domestic and international travel banned since the end of March, it is difficult to identify an Australian economic sector more severely impacted by the pandemic.
17436
Related content
Financing sustainability | Infographic
Financing sustainability: How do investors and issuers in APAC's sustainable finance market view the present market opportunities and constraints?
To learn more:
Download report | Watch videoFinancing sustainability: Asia Pacific embraces the ESG challenge
Financing sustainability: Asia Pacific embraces the ESG challenge is an Economist Intelligence Unit report, sponsored by Westpac. It explores the drivers of sustainable finance growth in Asia Pacific as well as the factors constraining it. The analysis is based on two parallel surveys—one of investors and one of issuers—conducted in September and October 2019.
If the countries of Asia Pacific are to limit the negative environmental effects of continued economic growth, and companies in the region are to mitigate their potential climate risks and make a positive business contribution through improving the environment and meeting the UN's Sustainable Development Goals (SDGs), large volumes of investment in sustainable projects and businesses need to be mobilised. A viable sustainable finance market is taking shape in the region to channel commercial investor funds, and both investors and issuers say they are achieving a financial benefit from their investment and financing activities. The market is still in the early stages of development, however, and must expand and mature to meet investor needs.
The chief constraint on sustainable finance growth in the region has been the limited supply of bankable sustainable projects. Our research suggests supply is increasing, but with investor demand continuing to grow apace, the gap will remain an obstacle in the short- to medium-term. Among the organisations in our issuer survey, only 7% have used sustainable finance instruments to fund projects. However, nearly nine in ten (87%) said they intend to do so in the next year, which should begin to bridge the gap between supply and demand.
Based on issuers’ stated intentions, investors will have a range of instruments to choose from, including green loans and bonds and sustainability loans and bonds. Large numbers of investors indicate that they intend to deploy a greater proportion of capital to these over the next three years.
The Hinrich Foundation Sustainable Trade Index 2018
Yet the enthusiasm in Asia for trade does not appear to have waned. This broad societal consensus behind international trade has enabled Asian countries to continue broadening and deepening existing trading relationships, for example, by quickly hammering out a deal for the Comprehensive and Progressive Agreement for Trans-Pacific Partnership (CPTPP) in early 2018 following the US’s withdrawal from its predecessor in 2017.
Asia, then, finds itself in the unique position of helping lead and sustain the global economy’s commitment to free and fair trade. It is in this context that the need for sustainability in trade is ever more crucial.
The Hinrich Foundation Sustainable Trade Index was created for the purpose of stimulating meaningful discussion of the full range of considerations that policymakers, business executives, and civil society leaders must take into account when managing and advancing international trade.
The index was commissioned by the Hinrich Foundation, a non-profit organisation focused on promoting sustainable trade. This, the second edition of the study, seeks to measure the capacity of 20 economies—19 in Asia along with the US—to participate in the international trading system in a manner that supports the long-term domestic and global goals of economic growth, environmental protection, and strengthened social capital. The index’s key findings include:
Countries in Asia, especially the richer ones, have broadly regressed in terms of trade sustainability. Hong Kong is developed Asia’s bright spot, recording a slight increase in its score and topping the 2018 index. Several middle-income countries perform admirably, led by Sri Lanka. For the economic pillar, countries generally performed well in terms of growing their labour forces as well as their per-head GDPs. For the social pillar, sharp drops for some countries in certain social pillar indicators contribute to an overall decline. For the environmental pillar, with deteriorating environmental sustainability in many rich countries, China, Laos and Pakistan are the only countries to record increases in scores. Sustainability is an ever more important determinant of FDI and vendor selection in choosing supply-chain partners. Companies are improving the sustainability of their supply chains by restructuring and broadening relationships with competitors and vendors.Arctic Summit 2014 - Cruise tourism in the High Arctic
A presentation by Frigg Jorgensen, Executive Director, Association of Arctic Expedition Cruise Operators
Related content
Resetting the agenda: How ESG is shaping our future
The Covid-19 pandemic has exposed a wealth of interconnections – between ecological and human wellbeing, between economic and environmental fragility, between social inequality and health outcomes, and more. The consequences of these connections are now filtering through, reshaping our society and economy.
In this setting, the need to integrate environmental, social and governance (ESG) factors when investing has become even more critical. Institutional investors must employ ESG not just to mitigate risks and identify opportunities, but to engage with companies to bring about the positive change needed to drive a sustainable economic recovery in the post-Covid world.
In order to understand how ESG could be both a new performance marker and a growth driver in this environment, as well as how institutional investors are using ESG to make investment decisions and to assess their own performance, The Economist Intelligence Unit (EIU), sponsored by UBS, surveyed 450 institutional investors working in asset and wealth management firms, corporate pension funds, endowment funds, family offices, government agencies, hedge funds, insurance companies, pension funds, sovereign wealth funds and reinsurers in North America, Europe and Asia-Pacific.
Download the report and infographic to learn more.
Charting the course for ocean sustainability in the Indian Ocean Rim
Charting the course for ocean sustainability in the Indian Ocean Rim is an Economist Intelligence Unit report, sponsored by Environment Agency Abu Dhabi and the Department of Economic Development Abu Dhabi, which highlights key ocean challenges facing the Indian Ocean Rim countries and showcases initiatives undertaken by governments and the private sector in the region to address these challenges.
Click here to view the report.
Fixing Asia's food system
The urgency for change in Asia's food system comes largely from the fact that Asian populations are growing, urbanising and changing food tastes too quickly for many of the regions’ food systems to cope with. Asian cities are dense and are expected to expand by 578m people by 2030. China, Indonesia and India will account for three quarters of these new urban dwellers.
To study what are the biggest challenges for change, The Economist Intelligence Unit (EIU) surveyed 400 business leaders in Asia’s food industry. According to the respondents, 90% are concerned about their local food system’s ability to meet food security needs, but only 32% feel their organisations have the ability to determine the success of their food systems. Within this gap is a shifting balance of responsibility between the public and private sectors, a tension that needs to and can be strategically addressed.
Tourism: New opportunities in hospitality
This panel, part of the Inside Ukraine 2011 event, explored what Ukraine can learn from more developed tourism industries to strengthen the key driver of the country's economy and assessing how attractive is the market for foreign players.
Related content
The Hinrich Foundation Sustainable Trade Index 2018
Yet the enthusiasm in Asia for trade does not appear to have waned. This broad societal consensus behind international trade has enabled Asian countries to continue broadening and deepening existing trading relationships, for example, by quickly hammering out a deal for the Comprehensive and Progressive Agreement for Trans-Pacific Partnership (CPTPP) in early 2018 following the US’s withdrawal from its predecessor in 2017.
Asia, then, finds itself in the unique position of helping lead and sustain the global economy’s commitment to free and fair trade. It is in this context that the need for sustainability in trade is ever more crucial.
The Hinrich Foundation Sustainable Trade Index was created for the purpose of stimulating meaningful discussion of the full range of considerations that policymakers, business executives, and civil society leaders must take into account when managing and advancing international trade.
The index was commissioned by the Hinrich Foundation, a non-profit organisation focused on promoting sustainable trade. This, the second edition of the study, seeks to measure the capacity of 20 economies—19 in Asia along with the US—to participate in the international trading system in a manner that supports the long-term domestic and global goals of economic growth, environmental protection, and strengthened social capital. The index’s key findings include:
Countries in Asia, especially the richer ones, have broadly regressed in terms of trade sustainability. Hong Kong is developed Asia’s bright spot, recording a slight increase in its score and topping the 2018 index. Several middle-income countries perform admirably, led by Sri Lanka. For the economic pillar, countries generally performed well in terms of growing their labour forces as well as their per-head GDPs. For the social pillar, sharp drops for some countries in certain social pillar indicators contribute to an overall decline. For the environmental pillar, with deteriorating environmental sustainability in many rich countries, China, Laos and Pakistan are the only countries to record increases in scores. Sustainability is an ever more important determinant of FDI and vendor selection in choosing supply-chain partners. Companies are improving the sustainability of their supply chains by restructuring and broadening relationships with competitors and vendors.The Global Illicit Trade Environment Index 2018
To measure how nations are addressing the issue of illicit trade, the Transnational Alliance to Combat Illicit Trade (TRACIT) has commissioned The Economist Intelligence Unit to produce the Global Illicit Trade Environment Index, which evaluates 84 economies around the world on their structural capability to protect against illicit trade. The global index expands upon an Asia-specific version originally created by The Economist Intelligence Unit in 2016 to score 17 economies in Asia.
View the Interactive Index >> Download workbook
Breaking Barriers: Agricultural trade between GCC and Latin America
The GCC-LAC agricultural trading relationship has thus far been dominated by the GCC’s reliance on food imports, specifically meat, sugar, and cereals. Over the past two years, however, there has been a notable decline in the share of sugar imported from LAC, and 2017 saw the biggest importers in the GCC—Saudi Arabia and the UAE—impose a ban on Brazilian meat.
Market players on both sides of the aisle are keen to grow the relationship further, but there are hurdles to overcome. In this report, we explore in greater depth the challenges that agricultural exporters and importers in LAC and the GCC face. We consider both tariff and non-tariff barriers and assess key facets of the trading relationship including transport links, customs and certification, market information, and trade finance.
Key findings of the report:
GCC will need to continue to build partnerships to ensure a secure supply of food. Concerns over food security have meant that the GCC countries are exploring ways to produce more food locally. However, given the region’s climate and geology, food imports will remain an important component of the food supply. Strengthening partnerships with key partners such as those in LAC, from which it sourced 9% of its total agricultural imports in 2016, will be vital to food security in the region.
There is a wider range of products that the LAC countries can offer the GCC beyond meat, sugar and cereals. Providing more direct air links and driving efficiencies in shipping can reduce the time and cost of transporting food products. This will, in turn, create opportunities for LAC exporters to supply agricultural goods with a shorter shelf life or those that are currently too expensive to transport. Exporters cite examples such as berries and avocados.
The GCC can engage small and medium-sized producers that dominate the LAC agricultural sector by offering better trade financing options and connectivity. More direct air and sea links can reduce the cost of transporting food products, making it viable for smaller players to participate in agricultural trade. The existing trade financing options make it prohibitive for small and medium-sized players too. Exporters in LAC suggest that local governments and private companies in the GCC can offer distribution services with immediate payments to smaller suppliers at a discount.
Blockchain technology is poised to address key challenges market players face in agricultural trade. Through a combination of smart contracts and data captured through devices, blockchain technology can help to reduce paperwork, processing times and human error in import and export processes. It can improve transparency, as stakeholders can receive information on the state of goods and status of shipments in real time. Finally, it can help with food safety and quality management—monitoring humidity and temperature, for instance, along the supply chain can help to pinpoint batches that may be contaminated, minimising the need for a blanket ban on a product.